วันเสาร์ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2556

วิจัย


สรุปองค์ความรู้ที่ได้รับ

การศึกษาผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยที่มีต่อ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย


ปริญญานิพนธ์
ของ 
ชยุดา พยุงวงษ์


เสนอต่อบัณฑิตวิทยาลัย  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเป็นสวนหนึ่งของการศึกษา 
ตามหลักสูตรปริญญาการศกษามหาบบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 
ตุลาคม 2551






*******************************************************************************

บทความ

 จอแก้วกับการเรียนรู้ของเด็ก




องค์ความรู้ที่ได้รับ

  ผู้เขียน : รุจิรา จงสกุล ,วินัย ชูจันทร์ ,ยุพาวดี ตรีทิพย์ธิคุณ

        มีงานวิจัยเกี่ยวกับพัฒนาการเด็กในวัย ๐ – ๖ ขวบกล่าวถึงการเจริญเติบโตของเซลล์สมองในเด็กแรกเกิดจะมีการเชื่อมต่อของใยประสาทอยู่ตลอดเวลาที่เด็กได้รับการกระตุ้นโดยเฉพาะ ด้านภาษางานวิจัยสนับสนุนความจริงว่าเด็กที่อายุต่ำกว่า ๒ ปี ดูแต่ทีวีซึ่งเป็นการสื่อสารทางเดียวเป็นเวลานาน ตลอด ๖ – ๘ ชั่วโมงต่อวันเซลล์ประสาทที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการทางภาษาจะขาดการกระตุ้นใน ขณะนั้นเนื่องจากเด็กขาดปฏิสัมพันธ์กับพ่อแม่เด็กจึงไม่ได้เรียนรู้ที่จะ สื่อให้ผู้อื่นเข้าใจตนเองได้ นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าภาพเคลื่อนไหวในทีวีทำให้เด็กขาดสมาธิในการเรียนรู้ สิ่งต่างๆ ได งานวิจัยประเทศสหรัฐอเมริกาที่มหาวิทยาลัย คอร์เนลล์,มหาวิทยาลัยอินเดียน่า และมหาวิทยาลัยเพอร์เดอร์




โทรทัศน์ครู


โทรทัศน์ครู เรื่อง การเรียนรู้นอกห้องเรียน : ส่องนกในโรงเรียน
 Learning Outside the Classroom : Birdwatching in School






ที่ได้จากการศึกษา





..........................................................................................................................................................

สัปดาห์ที่ 18

วันที่ 29 กันยายน 2556

การเรียนการสอน (เรียนชดเชย ครั้งที่ 2)

องค์ความรู้ที่ได้รับ

     1. นำเสนอการทดลองของแต่ละคน
     2. ส่งของเล่นทางวิทยาศาสตร์ และสื่อเข้ามุมวิทยาศาสตร์


สื่อเข้ามุมวิทยาศาสตร์ (แก้)


จับคู่...เสียง



อุปกรณ์           
1.)       ขวดยาคูลท์ และ ขวดนมเปรี้ยว     2.)  หิน
3.)       เรนโบว์                                         4.) ถั่วเขียว
5.)       เมล็ดข้าว                                       6.) เทปกาว กรรไกร
7.)       ฟิวเจอร์บอร์ด                                8.) กระดาษสี
วิธีทำ
1.)       ขวดยาคูลท์และ ขวดน้ำเปรี้ยวมาใส่ หิน ถั่วเขียว เมล็ดข้าว และ เรนโบว์  จากนั้นปิดฝาให้สนิท แล้วตกแต่งข้างขวด
2.)       นำฟิวเจอร์บอร์ดมาตัดตามขนาดที่วัดไว้เพื่อใส่ขวดทั้งหมด เมื่อตัดได้แล้วก็นำมาประกอบกันให้เป็นกล่อง
3.)       นำกระดาษสีมาห่อกล่อง จากนั้นก็นำขวดทั้งหมดมาเรียงไว้ด้านในกล่อง

วิธีการเล่น
            ให้เด็กเขย่าให้เกิดเสียง จากนั้นให้จับคู่เสียงที่เหมือนกัน
สรุป

            เสียง เกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ  ที่เสียงแตกต่างกันก็เพราะวัตถุข้างในมีขนาดต่างกัน



ประมวลภาพการทดลอง "เทียนไขดูดน้ำ"



ทักษะที่ได้รับ

     1. ลำดับขั้นตอนในการจัดประสบการณ์
     2. วิธีการใช้คำถามในการกระตุ้นการคิดของเด็ก 

การนำไปประยุกต์ใช้

    นำวิธีการใช้คำถามและลำดับขั้นตอนการเขียนประสบการณ์ ไปใช้ในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กในอนาคต

********************************************************************************




วันพุธที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2556

สัปดาห์ที่ 17

วันที่ 25 กันยายน 2556

กิจกรรมการเรียนการสอน

องค์ความรู้ที่ได้รับ

    -  อาจารย์นัดส่งรายงานที่ไปศึกษาดูงาน ที่ จังหวัด นครราชสีมา และจังหวัด บุรีรัมย์

    - อาจารย์ให้ สรุปองค์ความรู้ที่ได้รับจากรายวิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย






ทักษะที่ได้รับ
    1. เทคนิคการเขียน mind map
    2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาตร์ที่เรียนมาทั้งเทอม
    3. ทักษะกระบวนการคิดและการทำงานอย่างเป็นระบบ

การนำไปประยุกต์ใช้
   1. การคิดวิเคราะห์ในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
   2. การสรุปเนื้อหา โดยใช้ Mind Mapping
   

สัปดาห์ที่ 16

วันที่ 18 กันยายน 2556

กิจกรรมการเรียนการสอน

องค์ความรู้ที่ได้รับ

       วันนี้ให้ลงมือปฏิบัติทำ "ไข่ตุ๋น" ที่ได้เลือกจากแผนการทำ Cooking เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2556

ขั้นตอนการจัดประสบกาณ์ หน่วย ไข่ตุ๋น

    1. ครูให้เด็กๆนั่งเป็นครึ่งวงกลม
    2. นำอุปกรณ์มาวางไว้ตรงกลาง แล้วใช้คำถาม
          -  "เด็กๆเห็นคะ ... ว่าคุณครูมีอะไรบ้าง ?"
          -  "เด็กๆคิดว่าวันนี้คุณครูจะมาทำกิจกรรมอะไร  จากอุปกรณืที่เด็กๆเห็นอยู่"
          -  "เด็กๆเคยทานไข่ตุ๋นไหมคะ? ไข่ตุ๋นเป็นยังไง"

   
วัสดุ / อุปกรณ์



เด็กๆตอบคำถามจากสิ่งที่เห็น

  3.  ครูสาธิตวิธีการหั่นพัก แล้วหาอาสาสมัครออกมาหั่นผักชี ต้นหอม และแครอท



 4. จากนั้นก็ลงมือทำไข่ตุ๋น ตามขั้นตอนตีไข่ ใส่ส่วนผสมต่างๆ 



   5. นำไข่ตุ๋นที่ได้ ไปใส่ในหม้อนึ่งประมาน 15 - 20 นาที หรือจนไข่สุกระหว่างรอ ครูและเด็กร่วมสนทนาเกี่ยวกับการทำไข่ตุ๋นในครั้งนี้


  6. เมื่อเวลาผ่านไป ไข่ตุ๋นก็สุกพร้อมรับประทาน จากนั้นสนทานากับเด็กว่าทำไมไข่ถึงสุก



ทักษะที่ได้รับ
    
     1. ทักษะขั้นตอนการใช้คำถามสำหรับเด็ก
     2. ทักษะการทำอาหารที่เหมาะสมสำหรับเด็ก 

การนำไปประยุกต์ใช้

   1. นำเทคนิคการสอนไปใช้ในการสอนเด็กในอนาคต
   2. การบูรณาการวิทยาศาสตร์ให้สอดคล้องกับการใช้ในชีวิตประจำวัน



   

สัปดาห์ที่ 15

วันที่ 15 กันยายน 2556

การเรียนการสอน (เรียนชดเชย ครั้งที่ 1)
องค์ความรู้ที่ได้รับ

- อาจารย์ให้คำแนะนำในตการปรับปรุงแก้ไข Blogger ของนักศึกษาแต่ละคน
- ให้นักศึกษาจับกลุ่ม เพื่อ "เขียนแผนการสอนวิทยาศาสตร์ในการทำอาหารสำหรับเด็กปฐมวัย"

หน่วย...  ผัด ผัด ผัด ข้าวผัด



ประมวลภาพในขณะเรียน ..



เรื่องที่เพื่อนแต่ละกลุ่ม Present 
     
       1. หน่วย ผัด ผัด ผัด ข้าวผัด (ข้าวผัด USA)
       2. หน่วย ต้มจืด (ต้มจืด) 
       3. หน่วย ไข่ตุ๋นทรงเครื่อง (ไข่ตุ๋น)
       4. หน่วย อาหารจากไข่ (ไข่เจียว)

ทักษะที่ได้รับ

    1. ทักษะการเขียนแผนประสบการณ์ที่ถูกวิธี
    2. ทักษะการคิดวิเคราะห์
    3. ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น ต้องรู้จักรับความคิดเห็นของผู้อื่น ฃ

การนำไปประยุกต์ใช้

    1. นำวิธีขั้นตอนการเขียนแผนไปประยุกต์ใช้ในการเขียนแผนของวิชาอื่นที่ต้องเขียนแผน
    2. วิธีการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์ เรื่อง Cooking  นำไปเป็นประสบการณ์ในการจัดประสบการณ์           ในอนาคต